October 9, 2020

JK-201009-05

MONEY RICH 88

หลักสูตรแบบต่างๆ 1 ยิงปลา

1. หลักสูตรที่ยึดสาขาวิชาและเนื้อหาสาระเป็นหลัก (disciplines / subjects curriculum) กลุ่มนี้ให้ความสำคัญกับการจัดเนื้อหาสาระวิชาที่จะเรียน มีรูปแบบของหลักสูตร 5 รูปแบบ ดังนี้

1.1 หลักสูตรรายวิชา หรือหลักสูตรเนื้อหาวิชา (subject matter curriculum)

1.2 หลักสูตรกว้าง หรือหลักสูตรหมวดวิชา (broad field curriculum) หรือ

ได้มีการจำแนกประเภทหรือรูปแบบของหลักสูตรไว้หลายรูปแบบด้วยกัน ยิงปลา ซึ่งแต่ละ รูปแบบก็มีแนวคิดจุดมุ่งหมาย และโครงสร้างที่แตกต่างก็ออกไป ทั้งนี้เพื่อให้หลักสูตรมีความเหมาะสมกับสถานการณ์การจัดการเรียนรู้ที่มีอยู่หลากหลาย หรือเพื่อให้สนองเจตนารมณ์ของการจัดการเรียนรู้ลักษณะใดลักษณะหนึ่งตามระดับการศึกษา ดังนั้นหลักสูตรแต่ละรูปแบบจึงมีลักษณะเฉพาะของตนเอง รวมทั้งต่างก็มีข้อดีและข้อด้อยด้วยกันทั้งสิ้นเพื่อให้เกิดความเข้าใจในรูปแบบของหลักสูตร (curriculum design) แบบต่าง ๆ ซึ่งมีไม่ต่ำกว่า 10รูปแบบได้ดียิ่งขึ้น จึงได้มีการจัดประเภทรูปแบบของหลักสูตร ตามเกณฑ์ที่ยึดเป็นประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้

หลักสูตรหลอมรวมวิชา (fusion curriculum)

1.3 หลักสูตรสัมพันธ์วิชา หรือหลักสูตรแบบสหสัมพันธ์ (correlated curriculum)

1.4 หลักสูตรแบบแกนกลาง หรือหลักสูตรแบบแกนร่วมกัน หรือหลักสูตรแบบแกน (core curriculum)

1.5 หลักสูตรแบบบูรณาการ (integrated curriculum)

2. หลักสูตรที่ยึดผู้เรียนเป็นหลัก (learners centred) หลักการของหลักสูตรนี้ยึด ผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดหลักสูตรเพื่อสนองความต้องการ ความสามารถและความสนใจของผู้เรียนเป็นหลัก มีรูปแบบของหลักสูตร 3 รูปแบบดังนี้

2.1 หลักสูตรแบบเอกัตบุคคล (individualized curriculum)

2.2 หลักสูตรแบบส่วนบุคคล (personalized curriculum)

2.3 หลักสูตรที่เน้นผู้เรียน (child – centered curriculum) หรือหลักสูตรที่ใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (leaner – centred curriculum) ยิงปลา

3. หลักสูตรที่ยึดกระบวนการทางทักษะหรือประสบการณ์เป็นหลัก (process skill or experiencecurriculum) การจัดหลักสูตรประเภทนี้เป็นการเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียน และให้ผู้เรียนได้รู้จักการแก้ปัญหา ถ้าเป็นหลักสูตรที่ยึดกระบวนการเป็นหลักจะมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนมีรูปแบบของหลักสูตร 3 รูปแบบ ดังนี้

3.1 หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม หรือหลักสูตรที่ยึดกิจกรรมกระบวนการทางสังคมและการดำรงชีวิต (socialprocess and life function curriculum)

3.2 หลักสูตรประสบการณ์ (experience curriculum) หรือหลักสูตรแบบกิจกรรมและประสบการณ์(activity and experience curriculum)

3.3 หลักสูตรกระบวนการ (the process approach curriculum)

3.4 หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ (the competency – based curriculum)

ต่อไปนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดของลักษณะ และข้อดี ข้อด้อย ของหลักสูตรแต่ละ รูปแบบพอสังเขป ดังนี้

1.        หลักสูตรรายวิชาหรือหลักสูตรเนื้อหาวิชา (subject matter curriculum)

เป็นรูปแบบการจัดหลักสูตรที่เก่าแก่ที่สุดและยังใช้มาจนถึงปัจจุบัน หลักสูตรประเภทนี้ได้รับอิทธิพลมาจากปรัชญาสารัตถนิยม (essentialism) และปรัชญาสัจวิทยานิยม (parennialism) ยิงปลา เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา สาระ และความรู้ของวิทยาการต่าง ๆ เป็นหลักในการจัดการเรียนรู้ ใช้วิธีสอนแบบบรรยายโดยมีครูผู้สอนเป็นศูนย์กลาง ดังเช่น หลักสูตรการศึกษาของไทย ปี พ.ศ. 2493

ลักษณะของหลักสูตร

1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร ใช้วิชาต่าง ๆ เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียน ซึ่งอาจจะสัมพันธ์กับสังคมหรือไม่ก็ได้ มักจะไม่คำนึงถึงผลที่เกิดแก่สังคม

2. โครงสร้างของเนื้อหาวิชา จะแยกเป็นแต่ละวิชาไม่เกี่ยวข้องกัน เช่น ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม การจัดการเรียนรู้ และการวัดผลแยกจากกันเป็นเอกเทศ

3. เนื้อหาวิชาจะประกอบด้วย ความรู้ ความคิดรวบยอด ทักษะ กฎ หลักเกณฑ์ คุณธรรม และการปฏิบัติงาน โดยมีการจัดเนื้อหาให้เรียงลำดับอย่างมีระเบียบระบบ ตามลำดับเหตุการณ์ หรือตามลำดับความยากง่าย

4. การจัดการเรียนรู้ เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาสาระและความรู้ โดยครูผู้สอนเป็น ผู้ดำเนินการ ดังนั้นความสามารถของครูจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ไม่ให้ความสำคัญกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียนมากนัก ผู้เรียนทุกคนเรียนทุกสิ่งทุกอย่างเหมือน ๆ กัน และ ไม่ถือว่าจิตวิทยาในการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญ

5. การประเมินผลการเรียนรู้ มุ่งในเรื่องความรู้และทักษะในวิชาต่าง ๆ ที่เรียนมา เน้นเรื่องการสอน ถ้าผู้เรียนสอบผ่านก็ถือว่าใช้ได้ ถ้าสอบไม่ผ่านก็ต้องเรียนซ้ำ ต้องซ้ำจนกว่า จะสอบผ่าน

6. การพัฒนาหลักสูตร เน้นที่ผลการเรียนรู้ หลักสูตรจะเปลี่ยนแปลงก็ต่อเมื่อ เนื้อหาวิชาเปลี่ยนแปลงไปไม่ได้เนื่องมาจากความต้องการหรือความเปลี่ยนแปลงในสังคม

ข้อดี

1. ง่ายต่อการเลือกเนื้อหาวิชาที่จะนำมาใช้สอน

2. สอนง่ายและทุ่นเวลาในการจัดการเรียนรู้เนื่องจากเนื้อหาถูกจัดไว้อย่างเป็นระบบ ขั้นตอน ครูผู้สอนสามารถถ่ายทอดเนื้อหาสาระและความรู้ได้คราวละมาก ๆ และวัดผลได้ง่าย

3. การจัดเนื้อหาที่เป็นระบบขั้นตอนทำให้ผู้เรียนมีความรู้เป็นหมวดหมู่ เพียงพอต่อการเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อไป และทำให้ผู้เรียนมีระบบในการคิด ทำให้สามารถพัฒนา เชาวน์ปัญญาได้รวดเร็วขึ้น และความรู้ใหม่ที่ได้จะสัมพันธ์กับความรู้เก่าเกิดความต่อเนื่องใน การเรียนรู้ ยิงปลา

4. การประเมินผลการเรียนรู้ทำได้ง่าย เพราะมุ่งเน้นในเรื่องความรู้

5. เหมาะสำหรับการถ่ายทอดวัฒนธรรม

6. ช่วยสร้างระเบียบวินัยในชั้นเรียนได้ดี

ข้อด้อย

1. ขัดกับหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ธรรมชาติและพัฒนาการของผู้เรียน

2. ความมุ่งหมายของหลักสูตรแคบเกินไป เน้นแต่ด้านวิชาการไม่ครอบคลุม พฤติกรรม

และพัฒนาการด้านอื่นของผู้เรียน เช่น เจตคติ ทักษะ ด้านสังคม

3. เน้นครูเป็นศูนย์กลาง ไม่ส่งเสริมการแสดงความคิดเห็นของผู้เรียน ผู้เรียนขาดโอกาสในการพัฒนาความคิดไม่เป็นอิสระ จึงไม่ส่งเสริมให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

4. การจัดเนื้อหาสารที่แยกเป็นแต่ละวิชาไม่เกี่ยวข้องกัน ทำให้ผู้เรียนมองไม่เห็นภาพรวมของสิ่งที่เรียนนอกจากนี้เนื้อหาที่เรียนยังไม่คำนึงถึงความต้องการของสังคมอย่างแท้จริงทำให้ผู้เรียนไม่สามารถนำสิ่งที่เรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

5. ถ้าครูผู้สอนไม่มีความรู้ในเนื้อหาสาระที่สอนอย่างเพียงพอ และไม่มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้อย่างดีพอ ผู้เรียนก็เกิดการเรียนรู้ได้ยาก

6. บรรยากาศในห้องเรียนเคร่งเครียด ทำให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่ายในการเรียน

2. หลักสูตรกว้างหรือหลักสูตรหมวดวิชา (broad field curriculum)

เป็นรูปแบบหลักสูตรที่มีการผสมผสานความรู้ โดยรวมวิชาต่าง ๆยิงปลา ที่มีเนื้อหาสาระใกล้เคียงกันมารวมกันเป็นหมวดวิชาเดียวกัน เช่น หมวดวิชาคณิตศาสตร์จะรวมวิชา เลขคณิต พีชคณิต ตรีโกณมิติ เรขาคณิตไว้ด้วยกัน การจัดการเรียนรู้ยึดครูเป็นศูนย์กลางเน้นการถ่ายทอดเนื้อหาสาระ การวัดผลการเรียนรู้จึงมุ่งเน้นวัดความรู้ที่ได้เป็นหลัก ตัวอย่างของหลักสูตรแบบนี้คือ หลักสูตรการศึกษาของไทย ปี พ.ศ. 2503