October 9, 2020

JK-201009-06

MONEY RICH 88

ลักษณะของหลักสูตร 2 ยิงปลา

1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีขอบเขตกว้างขึ้น อาจครอบคลุมไปถึงผลที่เกิดขึ้นกับสังคม

2. นำจุดประสงค์การเรียนรู้ของแต่ละวิชามารวมกันเป็นจุดประสงค์ของหมวดวิชา ยิงปลา

3. โครงสร้างของหลักสูตรมีลักษณะเป็นการนำเอาเนื้อหาของแต่ละวิชาจึงได้เลือกสรรแล้วมาเรียงลำดับกันเข้า โดยไม่มีการผสมผสานกันแต่อย่างใด หรือมีน้อยมาก

ข้อดี

1. เนื้อหาวิชามีการประสานสัมพันธ์กันมากขึ้น เกิดการผสมผสานความรู้ ทำให้ ผู้เรียนมีความรอบรู้ในแต่ละหมวดวิชากว้างขวางขึ้น ตามความต้องการหรือตามความสนใจของตน เกิดความคิดรวบยอด (concept) ได้ง่ายขึ้น และสามารถนำผลการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

2. เนื้อหาวิชาที่เรียนไม่ซ้ำซ้อนกัน

3. บริหารหลักสูตรได้คล่องตัวขึ้น เพราะมีลักษณะเป็นหมวดวิชา

4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ได้หลายรูปแบบ ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทำกิจกรรม การเรียนรู้ได้หลากหลายสอดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียนจึงทำให้ผู้เรียนไม่เบื่อหน่ายในการเรียน

ข้อด้อย

1. ไม่เกิดการผสมผสานความรู้เท่าที่ควร เนื่องจากการสอนของครูยังยึดวิธีสอนแบบเดิม คือแยกสอนเป็นแต่ละวิชา แทนที่จะสอนแบบผสมผสานวิชา

2. การที่ผู้เรียนได้รับความรู้ที่กว้างขวางขึ้น อาจทำให้ขาดความรู้ที่ลึกซึ้งในเนื้อหา หรือไม่มีการแม่นยำในความรู้นั้น ๆ และความรู้ที่ได้รับไม่เป็นระเบียบเท่าที่ควร

3. ขาดความสัมพันธ์กับหมวดวิชาอื่น ๆ

4. การสอนอาจไม่บรรลุประสงค์ เนื่องจากครูผู้สอนต้องสอนหลายวิชาในขณะเดียวกันต้องใช้เวลาในการเตรียมการสอนมาก หรืออาจจะไม่มีความรู้ในบางวิชาดีพอ

3. หลักสูตรสัมพันธ์วิชาหรือหลักสูตรแบบสหสัมพันธ์ (correlated curriculum)

เป็นรูปแบบของหลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการขาดความสัมพันธ์กันของรายวิชาที่เกี่ยวข้องกัน โดยนำเอาเนื้อหาของวิชาต่าง ๆ ยิงปลา ที่สอดคล้องหรือส่งเสริมซึ่งกันและกันมาเชื่อมโยงเข้าหากันแล้ววิชาสอนเนื้อหาเหล่านั้นในคราวเดียวกัน แต่ถึงกระนั้นความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละวิชาก็ยังคงอยู่ เช่น นำวิชาศิลปะไปสัมพันธ์กับวิชาประวัติศาสตร์ทำหลักเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์มาเชื่อมโยงกับวิชาวิทยาศาสตร์ เป็นต้น การจัดการเรียนการสอนยึดครูเป็นศูนย์กลาง การวัดผลการเรียนรู้ยังเน้นพัฒนาการด้านเชาวน์ปัญญา

ลักษณะของหลักสูตร

เนื้อหาวิชามีความสัมพันธ์กันในหมวดวิชา หรือระหว่างวิชาโดยพยายามกำหนดเนื้อหาวิชาใดวิชาหนึ่ง หรือหมวดวิชาใดหมวดวิชาหนึ่งตามเนื้อหาสาระและโครงสร้างของวิชา นั้น ๆ แล้วนำเนื้อหาสาระวิชาอื่น ๆ ที่สัมพันธ์กันมารวมเข้าไว้ด้วยกัน

ข้อดี

1. เนื้อหาวิชามีความสัมพันธ์สอดคล้องและผสมผสานกันดียิ่งขึ้นทำให้ผู้เรียนได้รับความรู้ที่เชื่อมโยงกัน

2. ครูผู้สอนได้มีโอกาสวางแผนการสอนและดำเนินการสอนร่วมกัน ส่งผลให้เกิด จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ที่แน่นอน

3. สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ผู้เรียนมีโอกาสเข้าร่วม กิจกรรม และมีประสบการณ์ตรงมากขึ้น

4. ผู้เรียนมีโอกาสเรียนในสิ่งที่ตนสนใจ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

5. ขจัดความซ้ำซ้อนในเนื้อหาวิชาหรือหมวดวิชา

ข้อด้อย

1. การจัดเนื้อหาให้สัมพันธ์กันทำได้ยาก หากนำวิชาที่มีความสัมพันธ์กันน้อยเข้ามาสัมพันธ์กัน อาจทำให้วิชานั้นมีเนื้อหามากเกินไป

2. หากครูผู้สอนเตรียมการสอนไม่ดีพอ หรือขาดความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันจะทำให้ ผู้เรียนเกิดความสับสน

3. ทำให้คาบเวลาเรียนยาวนานเกินไป

4. ครูผู้สอนอาจจะมีปัญหาในเรื่องเวลาที่จะต้องมาวางแผนร่วมกัน หรือเกิดการ ไม่ยอมรับ เนื่องจากทำให้ยุ่งยากมากขึ้น

4. หลักสูตรแบบแกนกลาง หรือหลักสูตรแบบแกนร่วมกัน หรือหลักสูตรแบบแกน (core curriculum)

หลักสูตรรูปแบบนี้จัดตามปรัชญาปฏิรูปนิยม (reconstructionism) เป็นการรวบรวมเนื้อหาความรู้และประสบการณ์ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนเข้าด้วยกันให้มีความสัมพันธ์และผสมผสาน ยิงปลา กัน ให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้และคำนึงถึงความต้องการของสังคมเป็นหลัก การจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักการแก้ปัญหา เข้าใจชีวิตและสังคม การวัดผลการเรียนรู้เน้นวัดพัฒนาการทุก ๆ ด้านของผู้เรียนในวงการศึกษาไทยรู้จักหลักสูตรแกนกลางในนามของ "การเรียนการสอนแบบหน่วย" ตัวอย่างของหลักสูตรแบบนี้คือ หลักสูตรประถมศึกษาและหลักสูตรมัธยมศึกษา พุทธศักราช 2521 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533

5. หลักสูตรแบบบูรณาการ (intergrated curriculum)

เป็นหลักสูตรที่พัฒนามาจากหลักสูตรกว้างโดยนำเอาเนื้อหาของวิชาต่าง ๆ มาหลอมรวมกัน ยิงปลา ทำให้ความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละวิชาหมดไป โดยรวมเอาประสบการณ์การเรียนรู้จากหลาย ๆวิชา มาจัดเป็นหมวดหมู่ของประสบการณ์เป็นการบูรณาการเนื้อหาเข้าด้วยกัน จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่ต่อเนื่อง มีคุณค่าต่อการดำเนินชีวิต และพัฒนาผู้เรียนในทุก ๆ ด้าน การจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การวัดผลการเรียนรู้จะวัดพัฒนาการทุก ๆ ด้าน ตัวอย่างของหลักสูตรประเภทนี้คือ หลักสูตรประถมศึกษา ปี พ.ศ. 252

ลักษณะของหลักสูตร

หลักสูตรประเภทนี้รวมประสบการณ์จากทุกรายวิชามาสัมพันธ์กันจนไม่ปรากฏ เด่นชัดว่าเป็นวิชาใดจัดเป็นประสบการณ์ต่อเนื่อง หลักสูตรเช่นนี้อาจอาศัยประเด็นหรือปัญหาบางอย่างเป็นแกน แล้วหลอมทุกสาระวิชาที่เกี่ยวข้องเข้าไว้ด้วยกัน

ข้อดี

1. มีความสัมพันธ์ระหว่างวิชาสูงสุด ทำให้เกิดการผสมผสานทางด้านการเรียนรู้และเนื้อหาวิชา

2. ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง จึงสามารถนำสิ่งที่เรียนไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้มาก

3. เนื้อหาผสมผสานกัน สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลายรูปแบบ ทำให้สอดคล้องกับความสนใจ และความต้องการของผู้เรียนและสังคม

4. มีการคัดเลือกเนื้อหาอย่างรอบคอบ และการเรียบเรียงประสบการณ์อย่างดี ทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน

5. ส่งเสริมทักษะและความสามารถในการแก้ปัญหาทั้งผู้เรียนและครูผู้สอน รวมทั้งส่งเสริมการค้นคว้าวิจัย

6. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้ผู้เรียนได้พัฒนา คุณลักษณะต่าง ๆ ในตนเองและส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

ข้อด้อย

1. การบูรณาการเนื้อหาและประสบการณ์ทำได้ดีในระดับชั้นประถมศึกษา แต่ในระดับมัธยมศึกษาและสูงกว่าทำได้ยาก

2. เป็นหลักสูตรที่ยากแก่การสอน ดังนั้นครูผู้สอนต้องมีความรู้ ความสามารถที่ดีพอ ต้องมีการเตรียมการสอนอย่างดีและตระหนักถึงความสำคัญของหลักการบูรณาการ

3. ต้องใช้สื่อการเรียนรู้หลายอย่าง ยิงปลา

4. ความกว้างขวางของหลักสูตร อาจทำให้ผู้เรียนไม่มีความรู้ลึกซึ้งในเนื้อหาที่เรียน นอกจากนั้นหากครูผู้สอนไม่เก่งพออาจทำให้ผู้เรียนมองไม่เห็นความสัมพันธ์ระหว่างวิชาต่าง ๆ

5. ครูผู้สอนมักอาจสอนไม่ครอบคลุมเนื้อหาครบถ้วนหรือมักสอนแยกวิชาตามความเคยชิน ทำให้ขาดความเป็นบูรณาการ